|
All captions in the menu and in the forms are dual language: Thai and English. Some screen shots are shown with English captions while others with Thai captions to show this dual language nature.
2.1. Inventory Code Menuในหมวดของเมนูนี้จะใช้เพื่อการตั้งค่ารหัสสินค้าทุกชนิดที่มีเข้า/ออกในกิจการ โดยในการตั้งค่านั้นจะแบ่งจาก หมวดสินค้า, ประเภทสินค้า, รุ่นสินค้า จนถึงรหัสกลุ่มสินค้า และรหัสสินค้า
2.2. รหัสกลุ่มสินค้า และรหัสสินค้า Inventory Codeนั้นคือการกำหนดจากชื่อกลุ่มของสินค้านั้น ๆ พร้อมกำหนดรายละเอียดในตัวสินค้านั้นตัวว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร, และมีไว้เพื่อการผลิตในขั้นตอนใด, มีหน่วยนับสินค้านั้นอย่างไร (อาจเป็น ชิ้น, ม้วน หรือ ก.ก.), เกรดของสินค้าแล้วแต่ลักษณะของสินค้านั้นด้วย นอกจากนี้ยังระบุชื่อผู้ขายสินค้านั้นด้วย
2.3. Inventory Flow In and Out of Warehouseสำหรับฝ่ายบัญชีนั้นเป็นเมนูฟอร์มสำหรับการลงรายละเอียดทางบัญชีซึ่งในบางเมนูนั้นจะมีการใช้เมนูฟอร์ม ที่เหมือนกับฝ่ายผลิตซึ่งอธิบายไปแล้วข้างต้น IN:
OUT:
2.4. การเคลื่อนไหวของสินค้า : ขาเข้า Inventory Flow In2.4.1. การซื้อ : ใบสั่งซื้อ Purchase (P.O.)เป็นเมนูงานที่บอกรายละเอียดเกี่ยวกับการเข้ามาของสินค้าจากใบสั่งซื้อ จะเห็นได้ว่าจากฟอร์มนี้จะระบุและอ้างถึง เลขที่และวันที่ของใบสั่งซื้อ, สั่งซื้อจากผู้ขายใด รายละเอียดสินค้าที่สั่งซื้อพร้อมจำนวนและราคา ท้ายสุดสินค้านั้นเข้ามาสู่คลังใด
2.4.2. ย้ายคืนวัตถุดิบภายใน : ตามใบสั่งผลิต (Inventory Flow Raw Material Return : M/O)เป็นย้ายวัตถุดิบคืนแก่คลังภายหลังจากฝ่ายผลิตได้ผลิตสินค้าเรียบร้อยแล้ว และมีวัตถุดิบเหลือจากการผลิตนั้น ๆ โดยจะประกอบด้วยรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าไม่ว่าจะเป็นจำนวน, รหัส, กลุ่ม, ประเภท ฯลฯ นอกจากนี้ยังสามารถคัดลอกรายละเอียดได้จากใบสั่งผลิต (M/O) ได้อีกด้วย
2.4.3. ผลิตภายใน : ตามใบสั่งผลิตภายใน (Produced Internally: M/O)เป็นการผลิตสินค้าและนำสินค้าเข้าคลังนั้น ๆ ตามที่ฝ่ายผลิตทำการออกใบสั่งผลิตขึ้น
2.5. การเคลื่อนไหวของสินค้า : ขาออก (Inventory Flow Out)2.5.1. การขาย : ใบสั่งขาย (Sales : S/O)สำหรับการลงฟอร์มนี้จะเป็นการเคลื่อนไหวสินค้าออกสู่กิจการเนื่องจากการเปิดใบขายสินค้าออกไป โดยจะระบุรายละเอียดของสินค้าที่ได้ขายไปจากคลังใด ตลอดจน และขายแก่ใคร โดยจะสามารถคัดลอกจากใบสั่งขายได้ทันที
2.5.2. ส่งคืนสินค้า : ใบสั่งซื้อ, ใบแจ้งหนี้จากเจ้าหนี้ (Return Purchase P/O, P/I)เป็นการนำสินค้าออกจากคลังเนื่องจากมีการส่งคืนสินค้ากลับสู่ ผู้ขาย โดยสามารถอ้างอิงได้จาก ใบสั่งซื้อได้ ว่าจะส่งคืนแก่ผู้ขายใด และสถานที่ใด เป็นจำนวนเท่าใด
2.5.3. เบิกใช้วัตถุดิบภายนอก : ตามใบสั่งผลิต (Raw Material Use by Outside : W/O for M/O)เป็นการลงข้อมูลเพื่อลงรายละเอียดว่าเบิกใช้วัตถุดิบจากการจ้างผลิตภายนอกตามใบสั่งผลิตเป็นจำนวนจริงเท่าใด โดยสามารถคัดลอกรายการได้จากใบจ้างผลิตได้
3.1. ใบสั่งซื้อในประเทศ : ฝ่ายขาย (Purchase Order Local : Sales Department)จากตัวอย่างเป็นการสั่งซื้อโดยการอ้างอิงถึงการเปิดใบขายสินค้า โดยฝ่ายขาย (กรณีซื้อมาขายไป) ซึ่งจะสามารถระบุสินค้าที่ต้องการพร้อมรายละเอียดการสั่งซื้อต่าง ๆ ได้แก่ ชื่อที่อยู่ผู้จำหน่าย Supplier ได้
3.2. ใบจัดซื้อภายในประเทศ : ฝ่ายจัดซื้อ (Purchase Order Local : Purchase Department)เปิดการเปิดฟอร์มเมนูซื้อสินค้าโดยฝ่ายจัดซื้อว่าต้องการสินค้าอะไรบ้าง สามารถอ้างอิงจากฟอร์ม ขออนุมัติจัดซื้อได้ทันที
3.3. ใบสั่งซื้อต่างประเทศ (Purchase Order Import)เป็นเมนูที่ใช้กรอกฟอร์มการสั่งซื้อสินค้าจากต่างประเทศ โดยจะระบุเลขที่ และวันที่ออกใบสั่งซื้อไว้ รวมทั้งบอกรายละเอียดผู้จำหน่าย Supplier พร้อมกับรายละเอียดของสินค้าที่สั่งซื้อ, ราคา, ระยะเวลาการจ่ายด้วย
4.1. สูตรการผลิต (Process) Submenu
4.2. ใบสั่งผลิต : M/O (Manufacturing Order : M/O)เป็นเมูนูสำหรับการสั่งผลิตสำหรับฝ่ายการผลิตซึ่งจะระบุรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายที่ทำการผลิต, สูตรที่ใช้ในการผลิต, วันที่ทำการสั่งจนถึงวันสิ้นสุดขบวนการ,
สามารถระบุถึงสถานะทางการผลิตว่าอยู่ ณ ขั้นตอนใด
สถานะสินค้าเข้าและออก จะสามารถระบุถึงเหตุผลการเคลื่อนย้าย, อ้างอิงถึงรหัสต่าง ๆ และคลังสินค้าได้
สถานะของสินค้านั้น ๆ จะสามารถระบุถึงรหัสต่าง ๆ ของสิ้นค้า, ยอดโดยรวมของสินค้า, ยอดที่อยู่ในคลัง, ยอดที่ใช้ไปในการผลิต ฯลฯ ดังภาพ 4.3. ใบสั่งงานผลิตสินค้าภายนอก (Work Order: WO)เป็นเมนูที่ใช้งานสำหรับการออกใบสั่งผลิต แก่ผู้รับจ้างผลิตภายนอกโดยจะระบุรายละเอียดต่าง ๆ ดังภาพ
4.4. Process Flow In/OutShows the flow of goods in WIP from one process or work area to another. This is used to track production status. The output shows what is produced in this station and input used shows the raw materials used here.
การเข้าและออกของสินค้า จากภาพจะแสดงเป็นจำนวนในการเข้าและการออก พร้อมรหัสสินค้า 5.1. Assign Work to a Machine FormThis plans the work for a machine. The capacity of the machine will be taken into account in determining how many hours to run this work order. 5.2. Actual Machine Use RecordsThis is used to report the plan vs. actual, so that adjustments in the schedule can be made. 5.3. Processes List for a Work Order (Production Job)The scheduling of each process is done based on the time to complete each batch. 5.4. Line Balancing for Garment Stitching ExampleBased on this line balance, all the stitching will come out in a pipelined manner so that the output is most efficient. The time per piece and daily capacity are then used to determine how much output per day. 5.5. Assign a Production Job to LineThis will assign a stitching production job to a line, such as line 1. You may have more than 1 production lines. The schedules can also be edited in this form. The hours will automatically be determined by the capacity for that line per day. 5.6. Adjust ScheduleThis is used to adjust schedules in case of delay start time, moving of jobs to be after another job, deleting a job, moving to a different production line, and etc. 5.7. Production Gantt ChartThis example shows for a garment production Gantt Chart. It is clear which job (contract) will be done on which day. 6.1. Setup of QC Defects6.2. QC Audit NameLists the defects to test in each type of audit name. 6.3. QC Test MethodEnters the tests to be done, number of samples, and result basis. 6.4. Problems ListAllows you to enter the problems that occur in production for each type of process, so that when there is a defect or hold, the type of problem can be kept as record for later analysis. 6.5. Purchased Materials Quality ControlUsed to enter the quantity of received materials that are accepted or rejected. The final decision is to claim, return, exchange, or repair the goods. The supplier grading is also provided as part of ISO 9002 requirements.
7.1. รหัสบัญชี (Chart Of Account)
7.2. กำหนดค่าข้อมูล (Setup Information)เป็นการกำหนดค่าเริ่มต้นพื้นฐานต่างที่จำเป็นในการดำเนินธุรกิจในกิจการไม่ว่าจะเป็น รายได้และค่าใช้จ่ายในกิจการ, อัตราภาษี, บัญชีประเภทต่าง ๆ ฯลฯ 7.3. ใบแจ้งหนี้ลูกค้าภายในประเทศ (Sales Invoice For Goods Local)เป็นเมนูที่ใช้กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์ใบแจ้งหนี้ให้ลูกค้า โดยสามารถอ้างอิงรายละเอียดจากใบสั่งขายได้
7.4. ใบแจ้งหนี้ลูกค้าต่างประเทศ (Sales Invoice for Goods Export)คือเมนูที่ใช้กรอกแบบฟอร์มเพื่อการแจ้งหนี้แก่ลูกค้าต่างประเทศที่กิจการได้ทำการส่งสินค้านั้นไปโดยจะสามารถอ้างอิงเอกสารการขายต่างประเทศได้ ในรายละเอียดจะระบุถึงสินค้าที่จำหน่ายออก, สกุลเงินที่ชำระ, วันครบกำหนด ฯลฯ ดังภาพ
7.5. ใบรับคืนสินค้า (Sales Credit Note for Return)คือแบบฟอร์มที่บอกรายละเอียดเกี่ยวกับการรับคืนสินค้าที่ลูกค้าได้คืนมาพร้อมบอกรายละเอียดของสินค้านั้น ๆ จากรายการนี้สามารถเรียกข้อมูลได้จากสินค้าขากเข้าได้
7.6. ใบวางบิล (Sales Collection Notice)
7.7. เอกสารการแจ้งหนี้ภายในประเทศ (Purchase Invoice for Goods Local)เป็นฟอร์มที่ใช้ในการใส่รายละเอียดการแจ้งหนี้ไว้ โดยจะระบุเกี่ยวกับการจ่ายเงิน, ข้อมูลเจ้าหนี้ ฯลฯ สามารถอ้างอิงเอกสารเพื่อการจ่ายเงินได้จากใบสั่งซื้อได้ทันที
7.8. ส่งคืนสินค้า (Purchase Credit Note for Return)เป็นการลงข้อมูลเกี่ยวกับการคืนสินค้าที่ได้สั่งมาแก่ตัวแทนขายโดยจะระบุเกี่ยวกับจำนวนและรายละเอียดของสินค้าที่ได้ทำการสั่งซื้อ
7.9. ใบลดหนี้การค้า (Purchase Credit Note For Discount)Purchase credit note for discount without actually returning the goods. คือการลงข้อมูลเพื่อลดหนี้เนืองจากการคืนสินค้าโดยจะระบุจำนวนและราคาที่ทำการลดหนี้ไป โดยอ้งอิงถึงใบแจ้งหนี้ที่ผู้จำหน่ายส่งมา
7.10. รายรับจากใบแจ้งหนี้ และใบวางบิล (Receipt for Invoice or CL)เป็นการลงข้อมูลว่าได้รับชำระเงินจากลูกค้าแล้วพร้อมระบุเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ ที่จำเป็น เช่น วันที่ชำระ, จากลูกหนี้คนใด และจำนวนเท่าใด
7.11. รายจ่ายจากใบแจ้งหนี้ และใบวางบิล (Payment for Invoice or CL)เป็นการลงข้อมูลว่าได้ชำระเงินแก่ผู้จำหน่ายเรียบร้อยแล้วพร้อมระบุเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ ที่จำเป็น เช่น วันที่ชำระ, แก่เจ้าหนี้คนใด และจำนวนเท่าใด
7.12. บันทีกบัญชีสมุดรายวันทั่วไป (General Journal)เป็นเมนูฟอร์มที่ฝ่ายบัญชีใช้ทำการบันทึกรายวันว่ามีรายได้และค่าใช้จ่ายเท่าใดในแต่ละวัน ของแต่ละแผนก พร้อมรายละเอียดเกี่ยวกับเจ้าหนี้และลูกหนี้การค้าด้วย
8.1. Asset Code and IDHere you will notice that the code BN has 4 ID’s: BN-201 to BN-204. Each asset item will have a unique ID for depreciation and to keep track where they are. 8.2. Asset Flow In/OutThere are many reasons for movement of asset into the company such as purchases, sales, transfers, and etc. The following for IN and OUT of assets are supported:
A sample of the purchase of asset form is provided below: 8.3. Monthly Asset Depreciation FormThis is used to enter the depreciation as a cost per month based on the current value and the percent depreciation allowed per year. The final amount of depreciation is automatically entered as an accounting transaction in the JV (if you choose the finance module). 9.1. Employee Information รางละเอียดพนักงาน9.2. Daily Time Sheets per Employee from Card Reader or Key In9.3. Employee Monthly Work Records
|
|
|